พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพใหญ่พระประธราน

พระสมเด็จวัดระฆัง มีหลายพิมพ์ด้วยกัน แต่พิมพ์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในบรรดาพิมพ์พระทั้ง ๕ พิมพ์ คือ พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์พระประธาน ส่วนการเช่าการขายพระสมเด็จวัดระฆังโฆสิตาราม พิมพ์ใหญ่ ที่มีชื่อเสียงอยู่ในระดับแถวหน้าเช่น "องค์เสี่ยหน่ำ" อย่าง "องค์ลุงพุฒ" "องค์ขุนศรี" "องค์เล่าปี่" "องค์กวนอู" "องค์บุญส่ง" "องค์เจ๊แจ๊ว" "องค์เจ๊องุ่น" "องค์ครูเอื้อ" "องค์เสี่ยดม" และ "องค์มนตรี" ล้วนมีการเช่าการขายกันองค์ละหลายสิบล้านบาททั้งสิ้น สนใจโทรถาม คุณแอ็ด ราณี 0968241993 เบอเดียว

พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์ทรงเจดีย์

พระสมเด็จวัดระฆัง มีหลายพิมพ์ด้วยกัน แต่พิมพ์ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในบรรดาพิมพ์พระทั้ง ๕ พิมพ์ คือ พระสมเด็จวัดระฆัง พิมพ์พระประธาน ส่วนการเช่าการขายพระสมเด็จวัดระฆังโฆสิตาราม พิมพ์ใหญ่ ที่มีชื่อเสียงอยู่ในระดับแถวหน้าเช่น "องค์เสี่ยหน่ำ" อย่าง "องค์ลุงพุฒ" "องค์ขุนศรี" "องค์เล่าปี่" "องค์กวนอู" "องค์บุญส่ง" "องค์เจ๊แจ๊ว" "องค์เจ๊องุ่น" "องค์ครูเอื้อ" "องค์เสี่ยดม" และ "องค์มนตรี" ล้วนมีการเช่าการขายกันองค์ละหลายสิบล้านบาททั้งสิ้น ส่วนพระองค์เป็นพระพิมพ์ทรงเจดีย์ ที่สวยดูง่ายๆ
สนใจโทรถาม แอ็ด ราณี 0968241993 เบอเดียว




พระนางพญา จ.พิษณุโลก พิมพ์เข่าตรงมือตกเข่า

"วัด นางพญา จ.พิษณุโลก" เป็นวัด เก่าแก่ที่มีขนาดไม่ใหญ่นัก ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกันกับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ หรือ "วัดใหญ่" และ "วัดราชบูรณะ"



ที่เรียกว่า "วัดนางพญา" สันนิษฐานว่ามาจากชื่อของ พระวิสุทธิกษัตรี ซึ่งเป็นอัครชายาของพระมหาธรรมราชา และพระราชมารดาของพระสุพรรณกัลยา, สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ ซึ่งปรากฏหลักฐานว่าทรงสถาปนาพระอารามแห่งนี้ตั้งแต่สมัยสุโขทัย 

พระนางพญา องค์เป็นพิมพ์เข่าตรงมือตกเข่า
สนใจโทรถาม 0968241993

พระปิดตา หลวงปู่ภู่ วัดนอก จ.ชลบุรี

สุดยอดของพระปิดตาเมืองชลบุรี ถือเป็น 1 ใน 5 พระปิดตาของเมืองชลบุรี เป็นรองเพียงแค่ปิดตาหลวงพ่อแก้วเท่านั้น พระสุดยอดมากครับ หายากสุด ๆ เจอสมเด็จ 1
00 องค์จะเจอปิดตาหลวงปู่ภู่สักองค์หรือเปล่าก็ไม่รู้
สนใจโทรถาม0968241993


พระนางพญา จ.หิษณุโลก

วัด นางพญา จ.พิษณุโลก" เป็นวัด เก่าแก่ที่มีขนาดไม่ใหญ่นัก ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกันกับวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ หรือ "วัดใหญ่" และ "วัดราชบูรณะ"



ที่เรียกว่า "วัดนางพญา" สันนิษฐานว่ามาจากชื่อของ พระวิสุทธิกษัตรี ซึ่งเป็นอัครชายาของพระมหาธรรมราชา และพระราชมารดาของพระสุพรรณกัลยา, สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเอกาทศรถ ซึ่งปรากฏหลักฐานว่าทรงสถาปนาพระอารามแห่งนี้ตั้งแต่สมัยสุโขทัย



ต่อ มาวัดถูกทิ้งร้างเป็นเวลานานอันเนื่องจากศึกสงคราม กระทั่งเมื่อมีการขุดค้นพบ "พระนางพญา" วัดนางพญาจึงกลับมามีชื่อเสียงอีกครั้งหนึ่ง



ในคราวที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสมณฑลฝ่ายเหนือในปี ร.ศ.120 (พ.ศ.2444) ทรงมีพระราชหัตถเลขาบันทึกไว้ว่า "....อนุสนธิรายงานวันที่ ๑๙ เวลาเช้า ๒ โมงเศษ ลงเรือข้ามฟากไปขึ้นที่วัดมหาธาตุ แล้วเดินไปจนสุดถนน อันเป็นถนนเดิมปูด้วยอิฐลายสองตามถนนริมน้ำไปเข้าวัดนางพญา เดินไปริมคู ฤาสระรอบวัด...อนึ่ง ที่เล่าถึงเมื่อเวลาเช้านี้ขาดไปหน่อยหนึ่ง เมื่อเสร็จการจุดเทียนไชยแล้ว ไปดูวัดนางพญา ซึ่งอยู่ต่อจากวัดมหาธาตุติดกันทีเดียว วัดนี้ มีแต่วิหาร ไม่มีอุโบสถ มีโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมตั้งอยู่ในนั้นโรงหนึ่ง พระสอน มีนักเรียนมาก ที่คับแคบไม่พอ..."



การพบพระนาง พญา กรุวัดนางพญา จังหวัดพิษณุโลก "ตรียัมปวาย" ได้เขียนไว้อย่างชัดเจนในหนังสือ "ปริอรรถาธิบายแห่งพระเครื่องฯ เล่มที่ 2 เรื่อง นางพญาและพระเครื่องสำคัญ" ว่า มีโอกาสได้พบ ผู้ใหญ่เลี่ยว ปาลิวณิช นักพระเครื่องอาวุโสของจังหวัดพิษณุโลก ท่านเล่าว่า "กรุพระนางพญา" เป็นพระเจดีย์ที่พังทลายฝัง จมดินอยู่บริเวณด้านหน้าของวัด ตรงหน้ากุฏิท่านสมภารถนอม คราหนึ่งมีผู้หญิงชาวบ้านคนหนึ่งชื่อ นางถนอม มาขุดพบพระนางพญาที่บริเวณหน้ากุฏิได้พระเป็นจำนวนมาก ในคราวนั้นปรากฏว่าชาวเมืองพิษณุโลกไม่ได้ให้ความสนใจ ดังนั้น พระนางพญาที่ถูกค้นพบจึงถูกเก็บไว้ที่วัดนางพญา และบางส่วนอาจถูกนำไปบรรจุกรุยังที่อื่นๆ อีกด้วย

 "พระ พิมพ์ที่บรรจุอยู่ในกรุนี้ เป็นพระพิมพ์ที่เอามาจากวัดนางพญา จังหวัดพิษณุโลก ในปี พ.ศ.๒๔๔๔ ซึ่งเป็นปีที่พระบาทสมเด็จปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ รัชกาลที่ ๕ แห่งราชวงศ์จักรี เสด็จประพาสจังหวัดพิษณุโลก เพื่อนมัสการพระพุทธชินราชและทอดพระเนตรการหล่อพระพุทธชินราชจำลอง ในวาระดิถีอันเป็นมหามงคลนี้ ได้มีราษฎร ผู้จงรักภักดีต่อใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท นำพระพิมพ์มาถวายแด่ล้นเกล้าล้นกระหม่อมเป็นอันมาก และเมื่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงรับไว้ ก็ได้พระราชทานจ่ายแจกแก่พระบรมวงศานุวงศ์และเจ้านายใหญ่น้อย ตลอดจนบรรดาข้าราชบริพารที่ตามเสด็จในครั้งนั้นโดยทั่วถึงกัน และเนื่องจากพระพิมพ์นี้มีจำนวนมาก ส่วนหนึ่งจึงได้มีผู้รวบรวมมาบรรจุไว้ในกรุพระเจดีย์นี้ ..."



พระ นางพญา วัดนางพญา เป็นพระ เนื้อดินเผา รูปทรงสามเหลี่ยม จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี ทำให้ทราบว่าพระนางพญาเป็นการผสมผสานทางด้านศิลปะของสุโขทัยและอยุธยา มีการตัดขอบแม่พิมพ์ด้วยตอกชิดองค์พระ ส่วนด้านหลังจะมีรอยหดตัวด้วยอายุการสร้าง ซึ่งมีผู้สันนิษฐานว่าอายุประมาณ 500-600 ปี พุทธลักษณะองค์พระประธานประทับนั่ง แสดงปางมารวิชัย พระหัตถ์ขวาพาดที่พระชานุ (หัวเข่า) พระหัตถ์ซ้ายวางตรงหน้าพระเพลา (หน้าตัก) พระเกศเมาลีมีลักษณะคล้ายปลีกล้วย



แบ่งแยกแม่ พิมพ์ได้ทั้งหมด 6 พิมพ์ คือ พระนางพญา พิมพ์เข่าโค้ง, พระนางพญา พิมพ์เข่าตรง, พระนางพญา พิมพ์อกนูนใหญ่, พระนางพญา พิมพ์สังฆาฏิ, พระนางพญา พิมพ์เทวดา และ พระนางพญา พิมพ์อกนูนเล็ก



พระ พิมพ์นางพญา กรุวัดนางพญา จ.พิษณุโลก นับเป็นพระเครื่องที่มีความสำคัญ ที่ปรากฏหลักฐานการสร้างและการค้นพบมาแต่โบราณ มีพุทธลักษณะงดงามสง่า กอปรกับพุทธาคมที่ปรากฏเป็นเลิศเป็นที่เล่าขาน ทำให้ได้รับการยอมรับและยกย่องให้เป็นหนึ่งใน "พระชุดเบญจภาคี"

สนใจโทรถาม0968241993



พระรอดมหาวัน พิมพ์ใหญ่ องค์ที่สอง

<< ก่อนหน้า